ชุดสาธิตโรงเรือนอัจฉริยะ

ผู้แต่ง

  • กิตติพงษ์ กันยิ่ง สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
  • Chokthawee Pasotakang -
  • เชษฐภัฎฐ์ นิติวัฒนกุลธร สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
  • สุวัฒน์ มณีวรรณ สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
  • เดวิทย์ ศิริพจน์ สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

คำสำคัญ:

โรงเรือนอัจฉริยะ , เกษตรอัจฉริยะ , อินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง

บทคัดย่อ

เทคโนโลยีโรงเรือนอัจฉริยะถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยให้พืชสามารถเจริญเติบโตในสภาพแวดล้อมที่ควบคุมได้ โครงการวิจัยนี้ได้นำเสนอการออกแบบและสร้างชุดสาธิตโรงเรือนอัจฉริยะ เพื่อศึกษาการเกษตรในโรงเรือนอัจฉริยะซึ่งช่วยส่งเสริมการพัฒนาการเกษตรในหลายด้าน ได้แก่ 1) เพิ่มผลผลิตทางการเกษตรโดยการสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมทำให้พืชเจริญเติบโตและเพิ่มผลผลิตได้มากขึ้น และ 2) ลดต้นทุนการผลิตโดยการลดการใช้แรงงาน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยโดยใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับแสดงผลอุณหภูมิและความชื้นและการแสดงผลผ่านสมาร์ทโฟนสำหรับติดตามวัดค่าความชื้นในดิน การควบคุมสั่งการเปิด-ปิดระบบน้ำผ่านสมาร์ทโฟน

          ผลการวิจัยพบว่าจากการทดลองนำเมล็ดผักใส่ในถาดดินและวางไว้ในโรงเรือนอัจฉริยะระบบจะเริ่มทำงานตามปกติ โดยแสดงผลอุณหภูมิและความชื้นผ่านหน้าจอตู้ควบคุมและแอปพลิเคชัน Blynk ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และผลการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อชุดสาธิตโรงเรือนอัจฉริยะ มีค่าเฉลี่ยอยู่ 4.29 ซึ่งอยู่ในระดับการประเมินดีมาก

References

Sahana, B., D., K., Sravani., Dhanyashree, R, Prasad. (2020). Smart Green House Monitoring based on IOT. International journal of engineering research and technology, 8(14). 71-74.

Ridwan, Siskandar., et al. (2022). Control and Automation: Insmoaf (Integrated Smart Modern Agriculture and Fisheries) on The Greenhouse Model. Jurnal Ilmu Pertanian Indonesia, 27(1). 141-152.

Vasco, Figueiroa., João, Paulo, N., Torres. (2022). Simulation of a Small Smart Greenhouse. Designs, 6(6). 106

R., Kaske., Brady, Connaher., Mohammad, Upal, Mahfuz. (2022). A Sustainability-focused Project-based Learning Experience for Engineering Undergraduates: Case Study of a Smart Greenhouse Project. EAI Endorsed Transactions on Energy Web, 9(40). 1-7.

M., A., Abul-Soud., M., S., A., Emam., Sh., M., Mohammed. (2021). Smart Hydroponic Greenhouse (Sensing, Monitoring and Control) Prototype Based on Arduino and IOT. International Journal of Plant and Soil Science, 33(4). 63-77.

Yohanes, Bowo, Widodo., Sondang, Sibuea., Tata, Sutabri., Ibrahim, Aziz. (2022). Rancang Bangun Smart Greenhouse Berbasis Raspberry Pi dengan Web Framework Flask untuk Pertanian Perkotaan. Jurnal Teknologi Informatika dan Komputer, 8(2). 237-250.

Edward-J., Marín-García., José-Neftalí, Torres-Marín., Alexandra, Chaverra-Lasso. (2023). Smart Greenhouse and Agriculture 4.0. Revista Científica del Centro de Investigaciones y Desarrollo Científico de la Universidad Distrital Francisco José de Caldas, 46(1). 37-50.

อัษฎางค์ บุญศรี. (2019). ระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นแบบอัตโนมัติสำหรับโรงเพาะเห็ดนางฟ้า. วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 1(1). 1–10.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-29

How to Cite

กันยิ่ง ก., Pasotakang, C., นิติวัฒนกุลธร เ., มณีวรรณ ส., & ศิริพจน์ เ. (2024). ชุดสาธิตโรงเรือนอัจฉริยะ. วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 6(2), 50–61. สืบค้น จาก https://ph05.tci-thaijo.org/index.php/bru-idtech-journal/article/view/158

ฉบับ

บท

บทความวิจัย